วันอาทิตย์ที่ 21 กันยายน พ.ศ. 2551

กวยสุรินทร์(บ้านแตล)




กวยสุรินทร์
กวย
วัฒนธรรมชาวกวยชุมชนข้าพเจ้ายมีวัฒธรรมที่โดดเด่นคือ ภาษาพูด ชาวข้าพเจ้ายไม่มีภาษาเขียนดังนั้นชาวข้าพเจ้ายมีการปรับตัวงอยู่เสมอ เช่น การใช้ภาษาอื่นๆ ได้ดี เมื่อเข้ากลุ่มชนอื่น สามารถพูดภาษาเขมรได้ เมื่อต้องการสื่อความหมายทางภาษาเขมร หรือสามารถพูดภาษาลาวได้เมื่ออาศัยอยู่ในชุมชนลาวเมื่อชาวข้าพเจ้ายไม่มีภาษาเขียนจึงมีวัฒนธรรมที่สืบทอดต่อๆกันมาจนถึงปัจจุบันด้านภาษาพูด นอกจากนี้ยังมีนิทาน นิยาย เพลง คติชาวบ้าน และคำสวดคำกล่าวพิธีกรรม ตัวอย่างที่สะท้อนวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชาวข้าพเจ้ายได้ คือ ตัวอย่างนิทานเรื่องนกกระยาง ชาวข้าพเจ้ายเรียกว่า “อึมเถียนแจมกลอ” ในเนื้อหาสาระของนิทานที่กล่าวเป็นข้อความออกมาได้เข้าใจสำนึกอดีตของกลุ่มชาติข้าพเจ้ายได้จึงขออธิบายข้อความจากนิทานดั้งนี้“แจมกลอ เอย หมวง บวยจา หนอ บวย จา อกาอกา เอย เกิด หนอ บิ หวัจ เถอฮ บึงบึง เอย เกิด หนอ ติ เถอฮ ตริอ์ บิ จาตริอ์ เอย เกิด หนอ ตี บิ จา โป่ลฮ ผุงผุง เอย เกิด หนอ ตี โป่ลฮ โดย อ โฮโดย เอย เกิด หนอ ติ โฮ เหมีย ฉาฮเหมีย เอย เกิด หนอ ติ ฉาฮ อข้าพเจ้าด กเหยียมอข้าพเจ้าย เอย เกิด หนอ ติ กเหยียม กซญ กับกซัญ เอย เกิด หนอ ติ กับ ฮึมถราบ โซจฮึมถราบ เออย เกิด หนอ ติ โซจ ก โมจ ลอกจอกจูย……….กซูยหลึง คูง มะนูง กอน อข้าพเจ้าด………….แซ หวัว จา………ซลา เซอ โดย ก โบย หงวจ เดียะ เผรียะไฮแจว…..”นิทานชาวข้าพเจ้ายเรื่อง แจมกลอ ( แจม แปลว่า นก, กลอเป็นชื่อหอย) เป็นนิทาที่ชาวข้าพเจ้าย ซึ่งผู้ใหญ่มีการเล่าให้เด็กๆฟังจนเด็กๆ จำได้ เมื่อเด็กโตขึ้นมีครอบครัวก็ต้องเล่าให้ลูกหลานฟังต่อๆไปอีก แสดงถึงลักษณะความโดดเด่นในกลุ่มชาติพันธุ์ที่ไม่มีตัวหนังสือเขียนนิทานเรื่องนี้สะท้อนให้เห็นวิถีชีวิตความเป็นอยู่ของชาวข้าพเจ้ายได้ดี การกล่าวถึงสภาพแวดล้อมที่อาศัยอยู่รอบๆตัว และวิถีชีวิตความเป็นอยู่ประจำ เช่น การกล่าวถึงหนองน้ำมีบึงปลา นก กบ เขียด งู มด แมลง ควายที่อาศัยบึงหญ้าเป็นอาหาร การเกิดลมฝนตกตามธรรมชาติ การออกหาอาหารนำมาเป็นอาหารประจำวัน การประกอบอาชีพทำนา ทอผ้า บ้านเป็นที่อยู่อาศัย ภาชนะใส่อาหาร คือใช้ใบไม้ใส่ข้าวสุก ใช้กะลาตักน้ำดื่มและเก็บผักป่า (ผักดอกกระเจียวมาเป็นอาหาร) จากนิทานเรื่องนี้ได้มองเห็นอดีตของกลุ่มชนชาวข้าพเจ้ายได้ดี และเป็นวิถีชีวิตที่ต้องอาศัยธรรมชาติเป็นลักษณะของชาวข้าพเจ้ายที่มองเห็นคุณค่ากับชีวิตที่มีความเป็นอิสระ และยังอาศัยพืชธรรมชาติช่วยปกป้องคุ้มครองในสุขภาพ ที่เรียกว่า “ภูมิคุ้มกันโรค” ซึ่งที่อาศัยของชาวข้าพเจ้ายมีผีประจำหมู่บ้านคือ ศาลปู่ตา ผีหนองน้ำ ผีไร่นา ผีที่มีอยู่ทั้ง 3 อย่างดังกล่าวในปัจจุบันยังมีพิธีกรรมที่ยังคงอยู่ความเหนียวแน่นของชาวข้าพเจ้าย เช่น ข้าพเจ้ายบ้านตรึม ตำบลตรึม,ข้าพเจ้ายบ้านตรมไพร ตำบลตรมไพรและข้าพเจ้ายบ้านแตล ตำบลแตล อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ ส่วนผีประกำ ยังเชื่อในกลุ่มชนชาวข้าพเจ้ายเลี้ยงช้าง ถ้าหยุดเลี้ยงช้างผีประกำปรับเป็นผีบรรพบุรุษนอกจากนี้ภาษาที่ใช้ในพิธีกรรมประจำวันเป็นเอกลักษณ์ของคนในท้องถิ่นในอิสานใต้ที่มีอยู่อาศัยเป็นเวลานานและน่าจะเป็นเจ้าของท้องถิ่นนี้ก่อนกลุ่มชาติพันธุ์เขมร ลาว และไทย แต่ก็ต้องรอข้อเท็จจริงจากนักภาษาศาสตร์ ทำการศึกษาให้เกิดความชดเจนกว่านี้พิธีกรรมเรื่องพุทธ พราหมณ์ ผี ยังปรากฎชัดเจนในชุมชนข้าพเจ้าย การเดินทางออกไปนอกชุมชน เชื่อในคำสวดที่สืบทอดจากคำสอนของบรรพบุรุษ คำกล่าวคำสวดมีบทบาลี เช่น “ อัมมะตัง ปะกาเสนโต ราชาสิงโต สัตถาหะ ยัมพุทธ เสโต ปะลิวรรณะ โรสัมสะ หิสุจิง” เป็นคาถาของนายคะ สมสุระ อาศัอยู่ที่บ้านแตลได้บวชเป็นพระสงฆ์จำวัดที่บ้านตรึม เมื่อลาศึกจากพระสงฆ์ แล้วได้เดินทางลงไปประเทศกัมพูชาอยู่เนืองๆ เพื่อผูกความสัมพันธ็กับชาวกัมพูชา และการหาของป่า ดังนั้นคำสวดเป็นเครื่องมือสำคัญทางด้านกำลังใจทุกครั้ง พิธีกรรมทางพรหมณ์ที่คงอยู่ได้แก่ หยะจุ๊เพรียม (ปู่ตาพราหมณ์) ชาวบ้านกล่าวว่าปู่ตาพราหมณ์นี้น่าจะเกิดขึ้นกับการตั้งหมู่บ้าน เช่น ปู่ตาพราหมณ์บ้านแตล อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ พิธีกรรมชาวข้าพเจ้ายเริ่มขึ้นเดือน 3 ก่อนลงงานประกอบอาชีพทำนา จุดประสงค์สำคัญมีการเสี่ยงทายดูคางไก่และมีผู้เฒ่าหรือเถ้าจ้ำทำนายความอุดมสมบูรณ์ก่อนลงมือทำนาในพิธีกรรมที่ยังคงอยู่ที่น่าสนใจ คือ พิธีหว่านพันธุ์ข้าวที่เป็นพันธุ์ข้าวสมัยเดิมมีพันธุ์นางคง, นางร้อย และพันธุ์ข้าวเหนียวปองแอว ทุกคนที่มาร่วมพิธีต้องมีส่วนร่วมในการรับประทานลาบเต่าที่ปรุงแต่งให้สุก อาหารจากเนื้อเต่านี้ชี้ให้เห็นธรรมชาติที่ส่งผลให้แก่ชุมชนชาวข้าพเจ้ายตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบันชาวข้าพเจ้ายเชื่อในเรื่องผีเพราะช่วยในเรื่องสุขภาพได้ดังนั้นการรักษาโรคกระดูกให้กับผู้ป่วยครูหมอต้องจมคาถา หรือไสยศาสตร์ ลงในยาก่อนที่ให้ผู้ป่วยกินยา ดังคาถาเป่ารักษาให้คนป่วยของพระครูบริหารชัยมงคล วัดชัยมงคล มุนีวาส บ้านตรมไพร อำเภอศีขรภูมิ จังหวัดสุรินทร์ กล่าวว่าออมละคุละคัด ผีปัตผีเลียออมตะยัง อังมะลมผสมเนื้อ ติดเนื้อ ให้เป็นเนื้อเดียวในพิธีกรรมมีการปรับพิธีของกลุ่มชาวลาว และเขมร เข้าด้วยกัน ชี้ให้เห็นการยอมรับของกลุ่มชาติพันธุ์อื่น เพื่อผสมผสานชีวิตความเป็นอยู่ร่วมกัน เช่น พิธีกรรมแกลมออะจิ่งของชาวข้าพเจ้ายบ้านแตล จังหวัดสุรินทร์ จุดประสงค์คือรักษาขวัญจิตใจให้กับคนป่วย ในพิธีกรรมนี้มีพิธีบายศรีสู่ขวัญให้กับผู้ป่วย คำสวดของครูบาใหญ่จะกล่าวเป็นคำสวดภาษาบาลี สำเนียงภาษาลาว พิธีจุดบั้งไฟเพื่อบอกพระยาแถบบนสวรรค์ที่ชาวบ้านต้องการให้ฝนตกตามฤดูกาล อาจกล่าวได้ว่าจุดประสงค์พิธีกรรมดังกล่วชาวข้าพเจ้ายให้ความสำคัยในการโยงพิธีกรรมเข้าสู่การเกษตรกรรม และสุขภาพของชีวิต โดยเฉพาะด้านจิตใจที่คุ้มครองชีวิตให้เกิดความสุขสบายและคุ้มครองความเป็นธรรมของชุมชน อย่างไรก็ตามสภาพชีวิตของชาวข้าพเจ้ายในชุมชนในอีสานใต้ หลังมีแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติตั้งแต่ปี พ.ศ.2504 จนถึงปัจจุบัน รัฐมุ่งนโยบายการใช้ทรัพยากรธรรมชาติเป็นสำคัญ สภาพแวดล้อมความเป็นอยู่ได้เปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะป่าที่หมดไปกลายไปเป็นไร่นา ชาวข้าพเจ้ายต้องเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตจากการหาของป่ามาทำการประกอบอาชีพทำนาเป็นสำคัญการทำนาที่ได้ผลไม่คุ้มค่า เพราะต้านทานกระแสการพัฒนาที่เข้ามาสู่ชุมชน ผลผลิตที่ผลิตได้ไม่พอเพียงใช้จ่ายในครัวเรือน จึงต้องใช้ชีวิตไปหางานทำที่อยู่นอกชุมชน ชาวข้าพเจ้ายที่รักษาความเป็นอิสระความเป็นธรรม จึงเสียเปรียบกับผู้ที่แสวงหาผลประโยชน์ ถึงกับชาวข้าพเจ้ายที่ไปขายแรงงานตั้งแต่สำเร็จการศึกษาประถมศึกษาปีที่ 4 ผู้หนึ่งกล่าวว่า“ไทยกินเหล็ก เจ็กกินนาคบกับเจ็ก เป็นเด็กเลี้ยงควายคบกับแกว ว่าวแล้วว่าวอีกคบกับเขมร เวรบอแล้วคบกับลาวสาวได้สาวเอาคบกับส่วย (ข้าพเจ้าย) ไม่รวยไม่เลิก” กลุ่มชาวข้าพเจ้ายอะจิง(ข้าพเจ้าย Damrei) อีกกลุ่มหนึ่งที่สะท้อนให้เห็นวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลง ซึ่งแต่เดิมมีการจับช้างส่งให้ทางราชการ “ส่วยช้าง” ต่อมารัฐต้องการเงินตราแทน ชาวข้าพเจ้ายจึงต้องโพนช้างป่าขายให้กับนักธุรกิจค้าไม้ทางภาคเหนือเพื่อทำการลากซุง ปัญหาด้านความสำพันธ์ระหว่างไทยกับกัมพูชาในเรื่องรอยตะเข็บชายแดน ตามแนวพนมดงรัก โดยเฉพาะการอ้างอิงสิทธิ์ในปราสาทเขาพระวิหาร ส่งผลให้ชาวข้าพเจ้ายตั้งแต่ พ.ศ.2504 ไม่สะดวกต่อความปลอดภัยในชีวิตได้ทำงานโพนช้างป่า และช้างที่อยู่ได้ใช้ในกิจกรรมการค้าเร่สมุนไพร เครื่องรางของขลัง ใช้ช้างออกงานในพิธีกรรมบวชนาค แสดงในงานช้างแฟร์ของจังหวัดสุรินทร์ (เริ่มตั้งแต่ปี พ.ศ.2503 จนถึงปัจจุบันนี้ ) ทุกวันนี้ข้าพเจ้ายจะอิงได้พัฒนาการหารายได้ให้กับครอบครัวด้วยการนำช้างไปแสดงให้กับนายทุนต่างจังหวัด เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว เช่น จังหวัดภูเก็ต บางครัวเรือนก็แร่ขายอาหารช้างให้กิน ค่าตอบแทนที่ได้ก็นำมาใช้จ่ายในครัวเรือนซึ่งเราจะพบเห็นช้างแร่ขายอาหารอยู่ทั่วไปตามตัวเมืองจังหวัดต่างๆ โดยเฉพาะจังหวัดใหญ่ที่มีการเน้นเรื่องการท่องเที่ยว เช่น จังหวัดเชียงใหม่ ชาวข้าพเจ้ายกลุ่มนี้ได้ชี้ให้เห็นถึงวิธีชีวิตของชาวข้าพเจ้ายในท่ามกลางของแผนพัฒนาเศรฐกิจและสังคมแห่งชาติกิจกรรมบางเรื่องรัฐไม่ให้ความสำคัญในอดีตที่มา เช่น พิธีกรรม เล่นออหรือมอ ซึ่งเป็นพิธีกรรมที่มีจุดประสงค์ในด้านภูมิคุ้มกันโรค เป็นพิธีกรรมที่สืบทอดกันมาตั้งแต่บรรพบุรุษจนถึงปัจจุบัน ในลักษณะการถ่ายถอดด้านพันธุ์กรรม ทางพิธีกรรมของชาวข้าพเจ้าย รัฐให้ความสำคัญด้านการควบคุมสังคม ปกป้องความปลอกภัยจากสงคราม โจรผู้ร้าย และจัดเก็บภาษีจากราษฎร ส่วนพิธีกรรมเล่นมอหรือออ จึงปรากฎโดดเด่นของสังคม วัฒนธรรมของชาวข้าพเจ้าย ถ้าศึกษาสนใจ โดยเจาะลึกแล้ว สามารถที่จะเข้าใจรากเหง้าวัฒนธรรม สังคมข้าพเจ้ายอีกมุมหนึ่ง ขณะนี้ได้มี ผศ.ดร.อัจฉรา กานุรัตน์ อธิการบดีสถาบันราชภัฎสุรินทร์ ท่านมีจุดมองถึงวัฒนธรรมพื้นบ้านนี้มาก เพราะสามารถเข้าใจชีวิตความเป็นอยู่ในองค์รวมชาวข้าพเจ้ายในแง่คุณค่า ภูมิปัญญา และศักดิ์ศรีชาวข้าพเจ้ายที่ย้อนยุคอดีตที่เป็นชุมชนแรกในเขตอีสานใต้ ท่านได้นำเสนอถึงจุดเด่นด้านพิธีกรรมที่เรียกว่า "พระมอเฒ่า " โดยจัดกิจกรรมแสดงละครจัดฉากในข้อเท็จจริงเสนอต่อความก้าวหน้า ผลงานทางการศึกษาวิจัยอย่างเนื่องต่อชุมชนท้องถิ่นให้เกิดความสำนึกอดีต เข้าใจจุดยืนของตัวเอง ให้ชาวข้าพเจ้ายเข้าใจตนเอง และสังคมกลุ่มชาติ เขมร ลาว ที่อยู่ร่วมกับวัฒนธรรมกับกลุ่มชาติอื่นๆได้ดี และปี พ.ศ.2544 ได้จัดแสดงละครเรื่อง "พระมอเฒ่า " ในระหว่างประเพณีแสดงช้างแฟร์ของจังหวัดสุรินทร์ คิดว่าแนวโน้มกลุ่มชาติพันธุ์ข้าพเจ้ายจะได้เพิ่มความสำคัญ แต่ทำไมจังหวัดในภาคอีสานใต้ในประเทศไทย มีคำกล่าวขานว่ามีรายได้ที่ลำดับสุดท้ายของประเทศไทย โดยเฉพาะจังหวัดสุรินทร์ และศรีสะเกษซึ่งมีประชากรข้าพเจ้ายอยู่หนาแน่นจึงเป็นเรื่องที่น่าคิดอาจกล่าวสรุปได้ว่า ชุมชนชาวข้าพเจ้ายเป็นชุมชนเก่าแก่มีการตั้งถิ่นฐานอยู่ในอีสานใต้,ลาวตอนล่าง และตะวันออกเฉียงเหนือของกัมพูชา กรณีชุมชนชาวข้าพเจ้ายในอีสานใต้นั้นมีประชากรอยู่หนาแน่นในจังวัดสุรินทร์ ศรีสะเกษ และบางอำเภอในจังหวัดบุรีรัมย์และอุบลราชธานี มีจำนวนทั้งสิ้น 273,570 คน จำนวน 686 หมู่บ้าน ลักษณะเศรษฐกิจเป็นเศรษฐกิจพอเลี้ยงชีพ เดิมชำนาญหาของป่า ส่วนหนึ่งส่งให้แก่ทางราชการ ปัจจุบันสถานะของชาวข้าพเจ้ายได้เปลี่ยนมาเป็นสัญชาติไทย ตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชการที่ 5 และเศรษฐกิจของชาวข้าพเจ้ายยังทำให้การผลิตเพื่อกินอีกส่วนหนึ่งผลิต เพื่อให้ได้เงินตราไว้ซื้อขายแลกเปลี่ยนสิ่งของที่จำเป็นในครัวเรือนอาชีพที่สำคัญคือ การทำนา รับจ้างขายแรงงาน หาของป่า เลี้ยงสัตว์ ปลูกผักสวนครัว ด้านวัฒนธรรมมีภาษาพูดเป็นภาษาที่ใช้กันในชุมชน ศักยภาพที่ยังคงอยู่และมีการเข้าช่วยเหลือจากรัฐ ผลที่ได้รับตอบแทนพอเป็นต้นแบบแก่หมู่บ้านอื่นๆได้แก่ เศรษฐกิจชุมชนของบ้านม่วงหวาน-โคกเจริญ ตำบลจันดุม อำเภอประโคนชัย จังหวัดบุรีรัมย์ ชาวข้าพเจ้ายที่ได้รับผลที่ยังไม่พอใจนักเพราะชาวบ้านต้องต่อสู้กับกลุ่มภายนอกชุมชนเอาเปรียบ ได้แก่ บ้านเวินบึก ตำบลโขงเจียม อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี แต่ชาวข้าพเจ้ายที่จังหวัดสุรินทร์ได้รับการช่วยเหลือทั้งทางภาครัฐและภาคเอกชน(องค์การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย) ได้เข้ามามีบทบาทมากในการต่อสู้ชีวิตและ การมีวิถีชีวิตที่ดีนั้น ต้องศึกษาวิจัยเพื่อหาลู่ทางการพัฒนาชีวิตชาวข้าพเจ้ายต่อไปนำมาจาก surin.net (คุณเซราะกราวนด์)http://www.tidso.com/board_3/view.php?id=25




























































ไม่มีความคิดเห็น: